Record 11
27/10/2015
Knowledge
ทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
1.ตัดดอกไม้ระบายสีรอบๆดอก แล้วพับดอกไม้เป็นสี่เหลี่ยม นำดอกไม้ไปลอยในน้ำที่เตรียมไว้และสังเกตว่าดอกไม้เป็นอย่างไร
โดยใช้เวลาเป็นเกณฑ์ในการสังเกต
- ดอกไม้จากหุบเมื่อนำไปลอยในน้ำจะค่อยๆบานออก
2.นำน้ำใส่ในขวดที่เจาะรู 3 รูตามลำดับ แล้วสังเกตดูว่าน้ำพุ่งออกมาจากรูไหนแรงกว่ากันเพราะอะไร?
3.ทำน้ำพุจากขวดน้ำ
- คุณสมบัติของน้ำ
น้ำไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ แรงดันน้ำมากขึ้นเท่าไร น้ำก็จะพุ่งไปข้างหน้ามากเท่านั้น
4.ทำลูกยางกระดาษ ทำจากกระดาษตัดแบ่งครึ่ง พับ แล้วใช้คลิปหนีบแล้วโยนขึ้น สังเกตว่าของใครหมุนลงช้ากว่ากัน
5.ไหมพรมเต้นระบำ ตัดหลอดแบ่งครึ่ง เอาไหมพรมใส่ในหลอดแล้วมัดไหมพรม จากนั้นเป่าหลอด ไหมพรมจะค่อยๆเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง
6.การทำเทียนไข
ขั้นตอนการสอน
-แนะนำอุปกรณ์
-ตั้งสมมติฐาน
-ทดลอง
-สรุปผลการทดลอง
Skill
อาจารย์ให้นักศึกษาทำกิจกรรมแล้วให้สังเกตจดบันทึกพฤติกรรมเพื่อนแต่ละคนในการทำกิจกรรมพร้อมกับระดมความคิดร่วมกันในการทำกิจกรรม
Application
นำความรู้ที่ได้มาประยุกต์การจัดประสบการณ์สอนการออกแบบกิจกรรมที่จะสอนในเรื่องวิทยาศาสตร์ มีความรู้พื้นฐานในการที่จะเขียนแผนการสอนวิทยาศาสตร์
Self Evaluation
มาเรียนสาย ทำงานที่ได้รับมอบมายมาส่งตรงเวลา ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
Evaluation for classmated
เพื่อนแต่งกายถูกระเบียบ ทำงานที่ได้รับมอบหมายมาส่งตรงเวลา ตั้งใจเรียนขณะที่อาจารย์กำลังสอน ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
Evaluating teacher
อาจารย์มาสอนตรงเวลาแต่งกายมาสอนเหมาะสม มีการเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการสอนเป็นอย่างดี
Classroom Evaluation
ห้องเรียนสะอาด แอร์เย็น ห้องกว้าง อุปกรณ์สะดวกต่อการใช้สอย
E-Portfolio Subject to the Science Experiences Management for Early Childhood Semester 1 /2558
วันพุธที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2558
วันศุกร์ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2558
Record 10
20/10/2015
Knowledge
นำเสนองานวิจัย
เรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
ปริญญานิพนธ์ของ เอราวรรณ ศรีจักร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ที่มาและความสำคัญ
วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งในสังคมปัจจุบันและสังคมอนาคตเพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของทุกคน การเรียนวิทยาศาสตร์เป็นการเรียนการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลซึ่งเรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เด็กปฐมวัยสามารถเรียนรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้ โดยครูต้องใช้ประสบการณ์คิดและปฏิบัติการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยนั้นจะมาจากการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นหลักการเรียนรู้
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1.เพื่อศึกษาระดับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจำแนกรายทักษะและหลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
2. เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
ขอบเขตของการวิจัย
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชาย-หญิง ที่มีอายุ 4-5 ปี กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาล 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนอนุบาลธนินทร เขตดอนเมือง กทม
ตัวแปรที่ศึกษา
1. ตัวแปรอิสระ
กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
2. ตัวแปรตาม
ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ 4 ด้าน คือ ด้านกาารสังเกต จำแนก การสื่อสาร และการลงความคิดเห็น
เครื่องมือในการวิจัย
1. ชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ โดยใช้สมองเป็นฐานการเรียนรู้
2. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาระตามชุดแบบฝึกทักษะ
3. แบบประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
สรุป
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะจึงเป็นรูปแบบหนึ่งในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สามารถส่งเสริมและพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยได้ ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าเด็กเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จากการสังเกตขณะที่เด็กเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีสื่ออย่างหลากหลายและทำชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ที่เน้นสมองเป็นฐานการเรียนรู้ในแต่ละครั้งเด็กได้นำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้อย่างต่อเนื่อง ทั้งทักษะการสังเกต การจำแนก การสื่อสารและการลงความคิดเห็นจึงส่งผลให้เด็กได้รับการพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างสมบูรณ์
นางสาวชนากานต์ แสนสุข
เรื่อง การพัฒนาการเรียนการสอนของครูปฐมวัยโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. ครูเล่านิทาน แล้วให้เด็กออกมาเล่าประสบการณ์เดิมของเด็กๆ
2. ครูแบ่งกลุ่มให้เด็กเท่าๆกัน แจกขวดแชมพู ใส่น้ำในขวดแชมพูให้เต็มแล้วถามเด็กว่า ลักษณะของขวดแชมพูเป็นอย่างไร ให้เด็กๆตอบ จากนั้นให้เด็กทดลองบีบขวดจนน้ำในขวดแชมพูหมด
ระดมความคิดภายในกลุ่ม การทำ Cooking ขนมโค
ขนมโค
เครื่องปรุงขนมโค
ตัวแป้ง
1.แป้งข้าวเหนียวขาว 1 ถ้วย
2.น้ำเดือด 1 ถ้วย
หน้ากระฉึก
3.มะพร้าวทึนทึกขูดฝอย 1/2 ถ้วย
4.น้ำตาลบีบ 1/2 ถ้วย
5.น้ำลอยดอกมะลิ 1/2ถ้วย
น้ำกะทิ
6.กะทิ 2 ถ้วย
7.เกลือป่น 1 ช้อนชา
8.แป้งข้าวเจ้า 2 ช้อนชา
9.น้ำตาลทราย 2 ช้อนโต๊ะ
10.ใบเตย
วิธีทำ
1.กะทะใส่น้ำตาล มะพร้าว น้ำลอยดอกมะลิตั้งไฟอ่อนพอละลายเข้ากัน ใส่มะพร้าวทึนทึกขูด กวนจนพอให้มีน้ำหล่อ เหนียวเล็กน้อย ตักใส่ภาชนะพักไว้
2.นำหม้อใส่กะทิ เกลือป่น น้ำตาลทราย แป้งข้าวเจ้าคนให้เข้ากัน รอให้เดือดปุดๆ (อย่าใช้ไฟแรงกะทิจะแตกมัน)ปิดไฟ ใส่ใบเตยมัดเป็นห่อ
3.อ่างใส่แป้งข้าวเหนียวขาว ผสมน้ำเดือด ใช้พายยางตลบไปมา นวดจนนุ่มมือ (ถ้าแห้งให้เติมน้ำได้อีก ถ้าเหลวไปเติมแป้งได้)แป้งรวมเป็นก้อน แบ่งแป้งเป็นก้อนกลมเล็กๆแผ่แป้งให้แบนออกใส่ใส้หุ้มให้มิด นำไปต้มในหม้อใส่น้ำ ตั้งไฟกลางอย่าให้น้ำเดือดแรง ใส่ก้อนแป้งลงต้มให้พอแป้งลอยตัว ตักขึ้น ผ่านน้ำเย็น สะเด็ดน้ำ
4.ตักใส่ภาชนะ
Skill
อาจารย์ให้นักศึกษานำเสนองานวิจัย แล้วอาจารย์จะเพิ่มเติมความรู้ให้ในวิจัยนั้นๆเพื่อเสริมความรู้ในวิจัยนั้นแก่นักศึกษา จากนั้นให้นักศึกษาระดมความคิดการทำ Cooking ในหน่วยที่กลุ่มของตัวเองรับผิดชอบ
Application
นำความรู้ที่ได้ไปสอนเด็กในเรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และได้รู้จักการวางแผนในการสอนเด็กแบบเป็นขั้นตอน
Self Evaluation
มาเรียนตรงเวลา เตรียมตัวเป็นอย่างดีในการนำเสนองานวิจัย แต่งกายมาเรียนถูกระเบียบ
Evaluation for classmated
เพื่อนตั้งใจเรียน มาเรียนตรงเวลา ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มเป็นอย่างดี
Evaluation teacher
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนถูกระเบียบ มีเนื้อหาการสอนที่น่าสนใจ
Classroom Evaluation
ห้องเรียนสะอาด กว้าง อุปกรณ์สะดวกต่อการใช้สอย
20/10/2015
Knowledge
นำเสนองานวิจัย
เรื่อง การพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
ปริญญานิพนธ์ของ เอราวรรณ ศรีจักร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ที่มาและความสำคัญ
วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งในสังคมปัจจุบันและสังคมอนาคตเพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของทุกคน การเรียนวิทยาศาสตร์เป็นการเรียนการแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผลซึ่งเรียกว่ากระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เด็กปฐมวัยสามารถเรียนรู้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้ โดยครูต้องใช้ประสบการณ์คิดและปฏิบัติการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยนั้นจะมาจากการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นหลักการเรียนรู้
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1.เพื่อศึกษาระดับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจำแนกรายทักษะและหลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
2. เพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะ
ขอบเขตของการวิจัย
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชาย-หญิง ที่มีอายุ 4-5 ปี กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาล 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนอนุบาลธนินทร เขตดอนเมือง กทม
ตัวแปรที่ศึกษา
1. ตัวแปรอิสระ
กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์
2. ตัวแปรตาม
ทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ 4 ด้าน คือ ด้านกาารสังเกต จำแนก การสื่อสาร และการลงความคิดเห็น
เครื่องมือในการวิจัย
1. ชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ โดยใช้สมองเป็นฐานการเรียนรู้
2. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สาระตามชุดแบบฝึกทักษะ
3. แบบประเมินทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
สรุป
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดแบบฝึกทักษะจึงเป็นรูปแบบหนึ่งในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สามารถส่งเสริมและพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยได้ ซึ่งผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าเด็กเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จากการสังเกตขณะที่เด็กเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีสื่ออย่างหลากหลายและทำชุดแบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ที่เน้นสมองเป็นฐานการเรียนรู้ในแต่ละครั้งเด็กได้นำกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มาใช้อย่างต่อเนื่อง ทั้งทักษะการสังเกต การจำแนก การสื่อสารและการลงความคิดเห็นจึงส่งผลให้เด็กได้รับการพัฒนากระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างสมบูรณ์
นางสาวชนากานต์ แสนสุข
เรื่อง การพัฒนาการเรียนการสอนของครูปฐมวัยโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1. ครูเล่านิทาน แล้วให้เด็กออกมาเล่าประสบการณ์เดิมของเด็กๆ
2. ครูแบ่งกลุ่มให้เด็กเท่าๆกัน แจกขวดแชมพู ใส่น้ำในขวดแชมพูให้เต็มแล้วถามเด็กว่า ลักษณะของขวดแชมพูเป็นอย่างไร ให้เด็กๆตอบ จากนั้นให้เด็กทดลองบีบขวดจนน้ำในขวดแชมพูหมด
ระดมความคิดภายในกลุ่ม การทำ Cooking ขนมโค
ขนมโค
เครื่องปรุงขนมโค
ตัวแป้ง
1.แป้งข้าวเหนียวขาว 1 ถ้วย
2.น้ำเดือด 1 ถ้วย
หน้ากระฉึก
3.มะพร้าวทึนทึกขูดฝอย 1/2 ถ้วย
4.น้ำตาลบีบ 1/2 ถ้วย
5.น้ำลอยดอกมะลิ 1/2ถ้วย
น้ำกะทิ
6.กะทิ 2 ถ้วย
7.เกลือป่น 1 ช้อนชา
8.แป้งข้าวเจ้า 2 ช้อนชา
9.น้ำตาลทราย 2 ช้อนโต๊ะ
10.ใบเตย
วิธีทำ
1.กะทะใส่น้ำตาล มะพร้าว น้ำลอยดอกมะลิตั้งไฟอ่อนพอละลายเข้ากัน ใส่มะพร้าวทึนทึกขูด กวนจนพอให้มีน้ำหล่อ เหนียวเล็กน้อย ตักใส่ภาชนะพักไว้
2.นำหม้อใส่กะทิ เกลือป่น น้ำตาลทราย แป้งข้าวเจ้าคนให้เข้ากัน รอให้เดือดปุดๆ (อย่าใช้ไฟแรงกะทิจะแตกมัน)ปิดไฟ ใส่ใบเตยมัดเป็นห่อ
3.อ่างใส่แป้งข้าวเหนียวขาว ผสมน้ำเดือด ใช้พายยางตลบไปมา นวดจนนุ่มมือ (ถ้าแห้งให้เติมน้ำได้อีก ถ้าเหลวไปเติมแป้งได้)แป้งรวมเป็นก้อน แบ่งแป้งเป็นก้อนกลมเล็กๆแผ่แป้งให้แบนออกใส่ใส้หุ้มให้มิด นำไปต้มในหม้อใส่น้ำ ตั้งไฟกลางอย่าให้น้ำเดือดแรง ใส่ก้อนแป้งลงต้มให้พอแป้งลอยตัว ตักขึ้น ผ่านน้ำเย็น สะเด็ดน้ำ
4.ตักใส่ภาชนะ
Skill
อาจารย์ให้นักศึกษานำเสนองานวิจัย แล้วอาจารย์จะเพิ่มเติมความรู้ให้ในวิจัยนั้นๆเพื่อเสริมความรู้ในวิจัยนั้นแก่นักศึกษา จากนั้นให้นักศึกษาระดมความคิดการทำ Cooking ในหน่วยที่กลุ่มของตัวเองรับผิดชอบ
Application
นำความรู้ที่ได้ไปสอนเด็กในเรื่องกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และได้รู้จักการวางแผนในการสอนเด็กแบบเป็นขั้นตอน
Self Evaluation
มาเรียนตรงเวลา เตรียมตัวเป็นอย่างดีในการนำเสนองานวิจัย แต่งกายมาเรียนถูกระเบียบ
Evaluation for classmated
เพื่อนตั้งใจเรียน มาเรียนตรงเวลา ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมกลุ่มเป็นอย่างดี
Evaluation teacher
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนถูกระเบียบ มีเนื้อหาการสอนที่น่าสนใจ
Classroom Evaluation
ห้องเรียนสะอาด กว้าง อุปกรณ์สะดวกต่อการใช้สอย
วันอังคารที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2558
Record 9
13/10/2015
Knowledge
นำเสนอบทความ
นางสาวสุทธิกานต์
เรื่อง โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร?
สสวท ได้จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมด้วยตัวเด็ก กิจกรรมที่จัดจะเกี่ยวข้องกับโลกมีอยู่ 2 กิจกรรม
1.หวานเย็นชื่นใจ ให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตัวเองจนเด็กได้รู้คำตอบ
2.โมบายเริงลม สอนเรื่องอากาศ โดยใช้โมบายให้เด็กได้พิสูจน์ สืบเสาะ สังเกต และได้นำเอาวิทยาศาสตร์มาสอนแบบบูรณาการ
นางสาวสุทธิณี โนนบริบูณร์
เรื่อง เด็กอนุบาลเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบบูรณาการจากการล่องแก่ง
ให้เด็กเรียนรู้ การสำรวจการอนุรักษ์ธรรมชาติพร้อมกับผู้ปกครองเพื่อให้เกิดพัฒนาการทักษะทางวิทยาศาสตร์ เช่น การตั้งคำถาม การสืบเสาะหาข้อมูล การคาดคะเน การสังเกตุ และการตั้งคำถาม
นางสาวเจนจิรา เทียมนิล
เรื่อง สอนลูกเรื่องแม่เหล็ก
แม่เหล็กเป็นเรื่องที่เด็กสนใจและเป็นเรื่องที่แปลก เพราะนำมาประดิษฐ์เป็นของเล่น ถึงแม้เด็กจะไม่สามารถเห็นแรงแม่เหล็กได้ด้วยตาตนเอง เพราะแรงแม่เหล็กเป็นแรงธรรมชาติชนิดหนึ่ง มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น แต่เด็กจะรับรู้ได้จากผลการกระทำของแม่เหล็กที่สามารถดึงดูดวัตถุที่มีคุณสมบัติคล้ายแม่ใหญ่เข้าไปหาแม่เหล็ก
ไฟฟ้าสถิต
เป็นปรากฏการณ์ที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันปกติจะแสดงในรูปการดึงดูด
Skill
อาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอบทความและให้ความรู้เพิ่มเติมต่อบทความนั้น และให้นักศึกษานำของเล่นมาช่วยกันคิดวิเคราะห์หาคำตอบร่วมกับอาจารย์โดยมีการแลกเปลี่ยนความคิดพร้อมหาข้อสรุป
Application
นำความรู้ที่ได้มาประยุกต์การจัดประสบการณ์สอนและมาบูรณาการการออกแบบกิจกรรมที่จะสอนเด็กในเรื่องวิทยาศาสตร์และเรื่องต่างต่อไปได้ในอนาคต มีความรู้พื้นฐานในการที่จะเขียนแผนการสอนวิทยาศาสตร์
Self Evaluation
มาเรียนตรงเวลา ทำงานที่ได้รับมอบมายมาส่งตรงเวลา ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
Evaluation for classmated
เพื่อนแต่งกายถูกระเบียบ ทำงานที่ได้รับมอบหมายมาส่งตรงเวลา ตั้งใจเรียนขณะที่อาจารย์กำลังสอน
Evaluating teacher
อาจารย์แต่งกายมาสอนเหมาะสม สอนและปล่อยตรงเวลา มีการเตรียมเนื้อหาที่จะให้ความรู้เพิ่มเติมมาอย่างละเอียดเข้าใจง่าย
Classroom Evaluation
ห้องเรียนสะอาด แอร์เย็น ห้องกว้าง มีแสงสว่างเพียงพอ อุปกรณ์สะดวกต่อการใช้สอย
13/10/2015
Knowledge
นำเสนอบทความ
นางสาวสุทธิกานต์
เรื่อง โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร?
สสวท ได้จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมด้วยตัวเด็ก กิจกรรมที่จัดจะเกี่ยวข้องกับโลกมีอยู่ 2 กิจกรรม
1.หวานเย็นชื่นใจ ให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตัวเองจนเด็กได้รู้คำตอบ
2.โมบายเริงลม สอนเรื่องอากาศ โดยใช้โมบายให้เด็กได้พิสูจน์ สืบเสาะ สังเกต และได้นำเอาวิทยาศาสตร์มาสอนแบบบูรณาการ
นางสาวสุทธิณี โนนบริบูณร์
เรื่อง เด็กอนุบาลเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบบูรณาการจากการล่องแก่ง
ให้เด็กเรียนรู้ การสำรวจการอนุรักษ์ธรรมชาติพร้อมกับผู้ปกครองเพื่อให้เกิดพัฒนาการทักษะทางวิทยาศาสตร์ เช่น การตั้งคำถาม การสืบเสาะหาข้อมูล การคาดคะเน การสังเกตุ และการตั้งคำถาม
นางสาวเจนจิรา เทียมนิล
เรื่อง สอนลูกเรื่องแม่เหล็ก
แม่เหล็กเป็นเรื่องที่เด็กสนใจและเป็นเรื่องที่แปลก เพราะนำมาประดิษฐ์เป็นของเล่น ถึงแม้เด็กจะไม่สามารถเห็นแรงแม่เหล็กได้ด้วยตาตนเอง เพราะแรงแม่เหล็กเป็นแรงธรรมชาติชนิดหนึ่ง มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น แต่เด็กจะรับรู้ได้จากผลการกระทำของแม่เหล็กที่สามารถดึงดูดวัตถุที่มีคุณสมบัติคล้ายแม่ใหญ่เข้าไปหาแม่เหล็ก
ไฟฟ้าสถิต
เป็นปรากฏการณ์ที่ปริมาณประจุไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบบนผิววัสดุมีไม่เท่ากันปกติจะแสดงในรูปการดึงดูด
Skill
อาจารย์ให้นักศึกษาออกมานำเสนอบทความและให้ความรู้เพิ่มเติมต่อบทความนั้น และให้นักศึกษานำของเล่นมาช่วยกันคิดวิเคราะห์หาคำตอบร่วมกับอาจารย์โดยมีการแลกเปลี่ยนความคิดพร้อมหาข้อสรุป
Application
นำความรู้ที่ได้มาประยุกต์การจัดประสบการณ์สอนและมาบูรณาการการออกแบบกิจกรรมที่จะสอนเด็กในเรื่องวิทยาศาสตร์และเรื่องต่างต่อไปได้ในอนาคต มีความรู้พื้นฐานในการที่จะเขียนแผนการสอนวิทยาศาสตร์
Self Evaluation
มาเรียนตรงเวลา ทำงานที่ได้รับมอบมายมาส่งตรงเวลา ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
Evaluation for classmated
เพื่อนแต่งกายถูกระเบียบ ทำงานที่ได้รับมอบหมายมาส่งตรงเวลา ตั้งใจเรียนขณะที่อาจารย์กำลังสอน
Evaluating teacher
อาจารย์แต่งกายมาสอนเหมาะสม สอนและปล่อยตรงเวลา มีการเตรียมเนื้อหาที่จะให้ความรู้เพิ่มเติมมาอย่างละเอียดเข้าใจง่าย
Classroom Evaluation
ห้องเรียนสะอาด แอร์เย็น ห้องกว้าง มีแสงสว่างเพียงพอ อุปกรณ์สะดวกต่อการใช้สอย
วันจันทร์ที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2558
สรุป โทรทัศน์ครู
เรื่อง แสงกับการมองเห็น
ครูจะจัดกิจกกรมโดยให้เด็กได้สำรวจ จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนให้เป็นถ้ำหมีแล้วให้เด็กๆได้เข้าไปสำรวจในถ้ำ ก่อนที่จะเข้าไปในถ้ำครูให้เด็กๆมานั่งรวมกันครูใช้คำถาม ถามเด็กๆ เด็กรู้ไหมว่าแสงมาจากไหน? เด็กๆต่างช่วยกันตอบว่า มาจากพระอาทิตย์ ดวงจันทร์ ตะเกียง ไฟฉาย ครูถามต่อว่าใครเคยไปที่มืดบ้าง? เด็กยกมือตอบว่าเคยไปครูถามต่อว่าที่มืดเป็นอย่างไรเด็กตอบว่า สีดำ ไม่มีแสงสว่าง จากนั้นครูได้เตรียมอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดแสงไว้ให้เด็กๆได้สัมผัส เช่น ไฟฉาย ตะเกียง แล้วให้เด็กๆเข้าไปหาตุ๊กตาที่อยู่ในถ้ำสีของตุ๊กตาจะแตกต่างกันไป มีสีเงิน สีขาว สีเหลือง และสีแดง ตอนแรกครูให้เข้าไปหาโดยที่ไม่มีไฟฉายเข้าไปในถ้ำแล้วออกมาเด็กๆตอบว่ามองไม่เห็นอะไรเลยข้างในมืดมากต่อมาครูให้เอาไฟฉายเข้าไปในถ้ำด้วย เด็กๆหาตุ๊กตาเจอโดยที่เห็นตุ๊กตา สีเงินและสีเหลืองก่อน แล้วค่อยเห็นสีขาว สีแดง พอทำกิจกรรมในถ้ำเสร็จครูและเด็กๆร่วมกันสรุปกิจกรรมว่าเด็กๆหาตุ๊กตาตัวไหนเจอก่อนและเกิดจากอะไรถึงเจอสีเหลือกับสีเงินก่อน เพราะสีทั้งสองนั้นเกิดการสะท้อนแสงจึงทำให้เจอตุ๊กตาสีนั้นก่อน
เรื่อง แสงกับการมองเห็น
ครูจะจัดกิจกกรมโดยให้เด็กได้สำรวจ จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียนให้เป็นถ้ำหมีแล้วให้เด็กๆได้เข้าไปสำรวจในถ้ำ ก่อนที่จะเข้าไปในถ้ำครูให้เด็กๆมานั่งรวมกันครูใช้คำถาม ถามเด็กๆ เด็กรู้ไหมว่าแสงมาจากไหน? เด็กๆต่างช่วยกันตอบว่า มาจากพระอาทิตย์ ดวงจันทร์ ตะเกียง ไฟฉาย ครูถามต่อว่าใครเคยไปที่มืดบ้าง? เด็กยกมือตอบว่าเคยไปครูถามต่อว่าที่มืดเป็นอย่างไรเด็กตอบว่า สีดำ ไม่มีแสงสว่าง จากนั้นครูได้เตรียมอุปกรณ์ที่ทำให้เกิดแสงไว้ให้เด็กๆได้สัมผัส เช่น ไฟฉาย ตะเกียง แล้วให้เด็กๆเข้าไปหาตุ๊กตาที่อยู่ในถ้ำสีของตุ๊กตาจะแตกต่างกันไป มีสีเงิน สีขาว สีเหลือง และสีแดง ตอนแรกครูให้เข้าไปหาโดยที่ไม่มีไฟฉายเข้าไปในถ้ำแล้วออกมาเด็กๆตอบว่ามองไม่เห็นอะไรเลยข้างในมืดมากต่อมาครูให้เอาไฟฉายเข้าไปในถ้ำด้วย เด็กๆหาตุ๊กตาเจอโดยที่เห็นตุ๊กตา สีเงินและสีเหลืองก่อน แล้วค่อยเห็นสีขาว สีแดง พอทำกิจกรรมในถ้ำเสร็จครูและเด็กๆร่วมกันสรุปกิจกรรมว่าเด็กๆหาตุ๊กตาตัวไหนเจอก่อนและเกิดจากอะไรถึงเจอสีเหลือกับสีเงินก่อน เพราะสีทั้งสองนั้นเกิดการสะท้อนแสงจึงทำให้เจอตุ๊กตาสีนั้นก่อน
Record 8
6/10/2015
Knowledge
เพื่อนสรุปความรู้จากโทรทัศน์ครู
นางสาวเวรุวรรณ ชูกลิ่น
เรื่อง กิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก
โดย:ครูพงศกร ไสยเพชร
กิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กกระตุ้นให้เด็กเรียนรู้ด้วยของเล่นและการทดลองจากหลักวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างที่ 1 การทดลองเรื่องแรงลอยตัว ประดิษฐ์ของเล่น นักดำน้ำจากหลอดกาแฟ หลักการทางวิทยาศาสตร์ เมื่อบีบขวดความดันภายในขวดจะเพิ่มขึ้นทำให้ปริมาตรอากาศเล็กลงแรงลอยตัวจึงลดลงตามปริมาตรอากาศหลอดจึงจมลงเมื่อคลายมือความดันในขวดจะลดลง เมื่อความดันในขวดลดลงปริมาตรอากาศก็จะเพิ่มขึ้นแรงลอยตัวก็เพิ่มขึ้นตามปริมาตรอากาศหลอดจึงลอยขึ้น
ตัวอย่างที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วของอากาศและความดันของอากาศ ประดิษฐ์ของเล่น: เลี้ยงลูกด้วยลม
ตัวอย่างที่ 3 ถุงพลาสติกมหัศจรรย์ ทดลองโดยการใช้ดินสอแทงถุงน้ำพลาสติกค่อยๆแทงดินสอเข้าไปเมื่อทะลุเข้าไปแล้ว เนื้อพลาสติกที่มีโครงสร้างเป็นตาข่ายที่ขยายกว้างขึ้นจะรวมติดกับตัวดินสอทำให้น้ำไม่สามารถไหลออกมาได้
ตัวอย่างที่ 4 ความดันยกของ
นางสาววัชรี วงศ์สะอาด
เรื่อง วัยอนุบาลเรียนวิทยาศาสตร์จากสิ่งแวดล้อม
ครูพาเด็กสำรวจสิ่งแวดล้อมรอบตัวทุกวันหลังจากเข้าแถวเสร็จ ครูพานักเรียนเดินรอบๆโรงเรียน เด็กก็จะได้สังเกตุ
วิธีการสอนจะเกี่ยวโยงไปกับหน่วยการเรียนรู้ ครูจะเชิญวิทยากรข้างนอกมาให้ความรู้กับเด็กๆ เช่นเด็กเรียนเรื่องหญ้าแฝกทำไมถึงกันดินทะลายได้เด็กก็จะได้เรียนรู้จากการทดลอง
นางสาวภัทรวรรณ หนูแก้ว
บ้านวิทยาศาสตร์
มีการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เป็นโครงการบ้านวิทยาศาสตร์เพื่อส่งเสริมให้น้องอนุบาลได้สังเกตุสังเกตุ รู้จักการคิด วิเคราะห์อบรมเชิงเหตุผลโดยมีชั่วโมงการเรียนที่เป็นการทดลองเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และให้เด็กได้ลงมือทำเองโดยผ่านประสาทสัมผังทั้ง 5
Skill
อาจารย์สอนโดยอธิบายแลกเปลี่ยนความคิดระหว่างอาจารย์และนักศึกษาจากนั้นให้นักศึกษารวบรวมความคิดเกี่ยวกับสาระที่ควรเรียนรู้แล้วทำมายแมปปิ้ง
Application
นำความรู้ที่ได้ไปสอนเด็กเรื่องวิทยาศาสตร์ได้ในอนาคตทั้งเป็นการเตรียมความพร้อมพื้นฐานก่อนการออกไปฝึกสอนจริงรู้เทคนิคและวิธีการสอนต่างๆที่แตกต่างกันไป
Self Evaluation
มาเรียนตรงเวลา เตรียมตัวมาอย่างดีก่อนเข้าห้องเรียน ตั้งใจฟังขณะที่ครูกำลังสอน แต่งกายมาเรียนถูกระเบียบ
Evaluation for classmated
เพื่อนตั้งใจเรียนและฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการทำกิจกรรม
Evaluating teacher
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเหมาะสม เตรียมอุปกรณ์มาสอน มีความพร้อมที่จะสอน
Classroom Evaluation
ห้องเรียนสะอาด อุปกรณ์พร้อมต่อการใช้สอย ห้องกว้างแอร์เย็น โต๊ะเพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา
6/10/2015
Knowledge
เพื่อนสรุปความรู้จากโทรทัศน์ครู
นางสาวเวรุวรรณ ชูกลิ่น
เรื่อง กิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก
โดย:ครูพงศกร ไสยเพชร
กิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กกระตุ้นให้เด็กเรียนรู้ด้วยของเล่นและการทดลองจากหลักวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างที่ 1 การทดลองเรื่องแรงลอยตัว ประดิษฐ์ของเล่น นักดำน้ำจากหลอดกาแฟ หลักการทางวิทยาศาสตร์ เมื่อบีบขวดความดันภายในขวดจะเพิ่มขึ้นทำให้ปริมาตรอากาศเล็กลงแรงลอยตัวจึงลดลงตามปริมาตรอากาศหลอดจึงจมลงเมื่อคลายมือความดันในขวดจะลดลง เมื่อความดันในขวดลดลงปริมาตรอากาศก็จะเพิ่มขึ้นแรงลอยตัวก็เพิ่มขึ้นตามปริมาตรอากาศหลอดจึงลอยขึ้น
ตัวอย่างที่ 2 ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วของอากาศและความดันของอากาศ ประดิษฐ์ของเล่น: เลี้ยงลูกด้วยลม
ตัวอย่างที่ 3 ถุงพลาสติกมหัศจรรย์ ทดลองโดยการใช้ดินสอแทงถุงน้ำพลาสติกค่อยๆแทงดินสอเข้าไปเมื่อทะลุเข้าไปแล้ว เนื้อพลาสติกที่มีโครงสร้างเป็นตาข่ายที่ขยายกว้างขึ้นจะรวมติดกับตัวดินสอทำให้น้ำไม่สามารถไหลออกมาได้
ตัวอย่างที่ 4 ความดันยกของ
นางสาววัชรี วงศ์สะอาด
เรื่อง วัยอนุบาลเรียนวิทยาศาสตร์จากสิ่งแวดล้อม
ครูพาเด็กสำรวจสิ่งแวดล้อมรอบตัวทุกวันหลังจากเข้าแถวเสร็จ ครูพานักเรียนเดินรอบๆโรงเรียน เด็กก็จะได้สังเกตุ
วิธีการสอนจะเกี่ยวโยงไปกับหน่วยการเรียนรู้ ครูจะเชิญวิทยากรข้างนอกมาให้ความรู้กับเด็กๆ เช่นเด็กเรียนเรื่องหญ้าแฝกทำไมถึงกันดินทะลายได้เด็กก็จะได้เรียนรู้จากการทดลอง
นางสาวภัทรวรรณ หนูแก้ว
บ้านวิทยาศาสตร์
มีการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เป็นโครงการบ้านวิทยาศาสตร์เพื่อส่งเสริมให้น้องอนุบาลได้สังเกตุสังเกตุ รู้จักการคิด วิเคราะห์อบรมเชิงเหตุผลโดยมีชั่วโมงการเรียนที่เป็นการทดลองเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และให้เด็กได้ลงมือทำเองโดยผ่านประสาทสัมผังทั้ง 5
Skill
อาจารย์สอนโดยอธิบายแลกเปลี่ยนความคิดระหว่างอาจารย์และนักศึกษาจากนั้นให้นักศึกษารวบรวมความคิดเกี่ยวกับสาระที่ควรเรียนรู้แล้วทำมายแมปปิ้ง
Application
นำความรู้ที่ได้ไปสอนเด็กเรื่องวิทยาศาสตร์ได้ในอนาคตทั้งเป็นการเตรียมความพร้อมพื้นฐานก่อนการออกไปฝึกสอนจริงรู้เทคนิคและวิธีการสอนต่างๆที่แตกต่างกันไป
Self Evaluation
มาเรียนตรงเวลา เตรียมตัวมาอย่างดีก่อนเข้าห้องเรียน ตั้งใจฟังขณะที่ครูกำลังสอน แต่งกายมาเรียนถูกระเบียบ
Evaluation for classmated
เพื่อนตั้งใจเรียนและฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการทำกิจกรรม
Evaluating teacher
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเหมาะสม เตรียมอุปกรณ์มาสอน มีความพร้อมที่จะสอน
Classroom Evaluation
ห้องเรียนสะอาด อุปกรณ์พร้อมต่อการใช้สอย ห้องกว้างแอร์เย็น โต๊ะเพียงพอต่อจำนวนนักศึกษา
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)