E-Portfolio Subject to the Science Experiences Management for Early Childhood Semester 1 /2558
วันเสาร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2558
Record 3
25/08/2015
ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)
อาจารย์วิเคราะห์เรื่องการทำบล็อกและให้คำแนะนำเทคนิคต่างๆในการทำบล็อก
สรุปความรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องสัตว์
(งานคู่ : คู่กับนางสาวสุจิตรา มาวงษ์)
เด็กๆชอบสัตว์ทุกขนาด และทุกลักษณะ อยากเฝ้าดูสัมผัส และเลี้ยง แต่เด็กบางคนทนไม่ได้มากนักกับสัตว์เลื้อยคลานหรือพวกกัดแทะ กิจกรรมที่เสนอแนะในบทนี้จะสามารถให้ความรู้แก่เด็กที่ชอบสัตว์ และช่วยลดความกังวลของเด็กที่ไม่ชอบให้มองเห็นถึงผลประโยชน์และความสวยงามของสัตว์เล็กๆรอบตัวเรา
ตัวอย่างกิจกรรม
กิจกรรม: แมลงคืออะไร
จุดประสงค์การเรียนรู้: เพื่อให้ทราบว่าพวกแมลงมีลักษณะอะไรคล้ายกันบ้าง
กิจกรรมกลุ่มย่อย
1.ควรวางเป็นกฎสำหรับการเฝ้าสังเกตแมลงดังนี้
- แมลงหรือสัตว์ขนาดเล็กอื่นๆต้องอยู่ในกรง จับต้องกรงอย่างเบามือ
2.แนะให้นักเรียนสังเกตลักษณะที่บ่งบอกว่าสัตว์นั้นเป็นแมลง กล่าวคือ ร่างกายแบ่งเป็นสามส่วน( ส่วนหัว ส่วนอก และส่วนท้อง ) มีหกขา และหนวด 2 เส้น (antennae) แมงมุมจึงไม่ใช่แมลง (มี 8 ขา) แต่ตัวบุ้งเป็นแมลงมีเพียง 6 ขาที่เป็นขาจริงมีลักษณะเชื่อมต่อกัน
3.ชักชวนให้นักเรียนพยายามวาดภาพแมลงที่กำลังเฝ้าสังเกต
4.บอกนักเรียนด้วยว่า แมลงพวกนี้เป็นพวกโตเต็มวัย เริ่มแรกจะเป็นไข่ก่อน จากนั้นเป็นตวอ่อน (ไม่มีปีกรูปร่างคล้ายหนอน) ก่อนจะเปลี่ยนเป็นตัวโตเต็มวัย แมลงไม่มีกระดูกมีแต่เปลือกแข็งห่อหุ้มเพื่อป้องกันเนื้ออ่อนข้างใน
5.ปล่อยแมลงออกนอกห้องเรียนเมื่อถึงเวลาเลิกเรียน
ทักษะ ( Skill )
อาจารย์อธิบายเทคนิคและวิธีการเกี่ยวกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ให้นักศึกษาจับคู่ศึกษาค้นคว้าเรื่องเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และจับสลากเลือกหน่วย หน่วยที่ได้คือหน่วยสัตว์อ่านพร้อมสรุปที่ห้องสมุด
การนำไปใช้ ( Application)
นำความรู้ที่ได้ไปบูรณาการให้เข้ากับการเรียนการสอนสำหรับเด็กปฐมวัยเพื่อใช้ในการสอนเด็กได้ถูกต้องและเหมาะสมต่อไปในอนาคต
รู้จักการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองและฝึกการคิดอย่างเป็นกระบวนการ
เทคนิค
สอนอธิบายรายละเอียดและให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองโดยมีอาจารย์คอยให้คำปรึกษา
ประเมินห้องเรียน
ห้องเรียนสะอาด อุปกรณ์การเรียนพร้อมต่อการใช้สอย (ไปเรียนต่อที่ห้องสมุด)
ประเมินตนเอง
มาเรียนตรงเวลามีการเตรียมความพร้อมก่อนมาเรียน ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน
ประเมินเพื่อน
เพื่อนมาเรียนตรงเวลาตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมอย่างดี
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มาสอนตรงเวลาแต่งกายมาสอนเรียบร้อย อธิบายและให้คำปรึกษาในเรื่องบล็อกอย่างละเอียด
วันพุธที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2558
สรุปบทความ
เรื่อง วัยอนุบาลดูแลอย่างไรไปสู่ความเป็นเลิศ ตอนที่ 126 วิทยาศาสตร์กับการอ่านออกเขียนได้
ดอกเตอร์ วิทยา มานะวาณิชเจริญ
เด็กจะเรียนรู้วิธีการทางวิทยาศาสตร์แล้วลงมือปฏิบัติได้ตั้งแต่วัยก่อนเข้าเรียนจนถึงวัยอนุบาล เพราะฉะนั้นครูอนุบาลพึ่งวางแผนกิจกรรมที่สร้างโอกาสให้มีส่วนร่วมสำรวจ อธิบาย ขยายและประเมินผลการสอนวิทยาศาสตร์และการพัฒนาแนวความคิดทางวิทยาศาสตร์ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตราฐานแกนร่วมโดยให้เด็กได้วางแผนและสืบค้นแล้วสื่อสารสิ่งที่เขาค้นพบ นอกจากการวางแผนแล้วต้องมีการรวบรวมประสบการณ์จริงของเด็กก่อนลงมือปฏิบัติและนำเอาประสบการณ์ที่เด็กถ่ายทอดนั้นมาผนวกการเขียนและวาดรูปเข้าด้วยกันแสดงแบบอย่างการเขียนสำหรับชั้นเรียนด้วยการบันทึกสิ่งที่เด็กพูด ส่งเสริมให้เด็กร่วมกันเขียนทำให้เด็กเกิดทักษะในการเขียนและฝึกทักษะด้านภาษาในการออกเสียงพูด
เรื่อง วัยอนุบาลดูแลอย่างไรไปสู่ความเป็นเลิศ ตอนที่ 126 วิทยาศาสตร์กับการอ่านออกเขียนได้
ดอกเตอร์ วิทยา มานะวาณิชเจริญ
เด็กจะเรียนรู้วิธีการทางวิทยาศาสตร์แล้วลงมือปฏิบัติได้ตั้งแต่วัยก่อนเข้าเรียนจนถึงวัยอนุบาล เพราะฉะนั้นครูอนุบาลพึ่งวางแผนกิจกรรมที่สร้างโอกาสให้มีส่วนร่วมสำรวจ อธิบาย ขยายและประเมินผลการสอนวิทยาศาสตร์และการพัฒนาแนวความคิดทางวิทยาศาสตร์ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตราฐานแกนร่วมโดยให้เด็กได้วางแผนและสืบค้นแล้วสื่อสารสิ่งที่เขาค้นพบ นอกจากการวางแผนแล้วต้องมีการรวบรวมประสบการณ์จริงของเด็กก่อนลงมือปฏิบัติและนำเอาประสบการณ์ที่เด็กถ่ายทอดนั้นมาผนวกการเขียนและวาดรูปเข้าด้วยกันแสดงแบบอย่างการเขียนสำหรับชั้นเรียนด้วยการบันทึกสิ่งที่เด็กพูด ส่งเสริมให้เด็กร่วมกันเขียนทำให้เด็กเกิดทักษะในการเขียนและฝึกทักษะด้านภาษาในการออกเสียงพูด
Record 2
18/08/2015
ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)
ทำไม? เราต้องเรียนรู้วิทยาศาสตร์
- ทำให้รู้จักวิทยาศาสตร์
- เอาสิ่งเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ในชีวิต
- ทำให้ตัวเองมีเหตุผล
- มีการพัฒนาในการนำไปใช้
พัฒนาการทางสติปัญญา ( Cognitive development)
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความสามารถที่เป็นไปตามลำดับขั้นตอน ด้านความสามารถ ภาษาการคิดของแต่ละบุคคล
พัฒนาขึ้นมาจากการมีปฏิสัมพันธ์ ( interaction) กับสิ่งแวดล้อม
การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างบุคคล กับสิ่งแวดล้อม
การมีปฏิสัมพันธ์ ( interaction) กับสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 2 กระบวนการ
1. กระบวนการดูดซึม ( assimilation)
เพื่อดูดซึมประสบการณ์ใหม่ให้รวมเข้าอยู่ในโครงสร้างสติปัญญาเป็นการตีความหรือการรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อม
2.กระบวนปรับโครงสร้าง (accommodation)
การเปลี่ยนแปลงแบบโครงสร้างของเชาว์ปัญญาที่มีอยู่และให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์ใหม่
ทักษะ
มีการสอนโดยใช้คำถามก่อนเข้าสู่บทเรียนและหลังบทเรียน
การนำไปใช้
สามารถนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาตนเองและผู้อื่นในการใช้ชีวิตประจำวัน ใช้ภาษาได้ถูกต้องและมีเหตุผลรู้จักวิธีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงด้านสติปัญญาและความคิดให้สมดุลกันกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในสังคม
เทคนิคการสอน
สอนโดยมีการบรรยายประกอบ Power point มีการแทรกคำถามและรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาประกอบการบรรยาย
แจกกระดาษให้นักศึกษาเขียน พัฒนาการสติปัญญาตามความเข้าใจของนักศึกษา
ประเมินห้องเรียน
ห้องเรียนสะอาดบรรยากาศน่าเรียนอุปกรณ์สะดวกในการใช้สอย
ประเมินตนเอง
มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน
ประเมินเพื่อน
เพื่อนแต่งกายมาเรียนถูกระเบียบ ตั้งใจเรียนไม่พูดคุยเสียงดัง
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มาสอนตรงเวลาแต่งการถูกระเบียบ ใช้คำพูดน้ำเสียงน่าฟังอธิบายอย่างละเอียด
18/08/2015
ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)
ทำไม? เราต้องเรียนรู้วิทยาศาสตร์
- ทำให้รู้จักวิทยาศาสตร์
- เอาสิ่งเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ในชีวิต
- ทำให้ตัวเองมีเหตุผล
- มีการพัฒนาในการนำไปใช้
พัฒนาการทางสติปัญญา ( Cognitive development)
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความสามารถที่เป็นไปตามลำดับขั้นตอน ด้านความสามารถ ภาษาการคิดของแต่ละบุคคล
พัฒนาขึ้นมาจากการมีปฏิสัมพันธ์ ( interaction) กับสิ่งแวดล้อม
การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างบุคคล กับสิ่งแวดล้อม
การมีปฏิสัมพันธ์ ( interaction) กับสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 2 กระบวนการ
1. กระบวนการดูดซึม ( assimilation)
เพื่อดูดซึมประสบการณ์ใหม่ให้รวมเข้าอยู่ในโครงสร้างสติปัญญาเป็นการตีความหรือการรับข้อมูลจากสิ่งแวดล้อม
2.กระบวนปรับโครงสร้าง (accommodation)
การเปลี่ยนแปลงแบบโครงสร้างของเชาว์ปัญญาที่มีอยู่และให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมหรือประสบการณ์ใหม่
ทักษะ
มีการสอนโดยใช้คำถามก่อนเข้าสู่บทเรียนและหลังบทเรียน
การนำไปใช้
สามารถนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาตนเองและผู้อื่นในการใช้ชีวิตประจำวัน ใช้ภาษาได้ถูกต้องและมีเหตุผลรู้จักวิธีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงด้านสติปัญญาและความคิดให้สมดุลกันกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในสังคม
เทคนิคการสอน
สอนโดยมีการบรรยายประกอบ Power point มีการแทรกคำถามและรายละเอียดเกี่ยวกับเนื้อหาประกอบการบรรยาย
แจกกระดาษให้นักศึกษาเขียน พัฒนาการสติปัญญาตามความเข้าใจของนักศึกษา
ประเมินห้องเรียน
ห้องเรียนสะอาดบรรยากาศน่าเรียนอุปกรณ์สะดวกในการใช้สอย
ประเมินตนเอง
มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน
ประเมินเพื่อน
เพื่อนแต่งกายมาเรียนถูกระเบียบ ตั้งใจเรียนไม่พูดคุยเสียงดัง
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มาสอนตรงเวลาแต่งการถูกระเบียบ ใช้คำพูดน้ำเสียงน่าฟังอธิบายอย่างละเอียด
วันพุธที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2558
Record 1
11/08/2015
ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)
ทักษะทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ สติปัญญา การคิด วิเคราะห์ ความจำ
การทดลอง และการนำไปประยุกต์ใช้
อาจารย์อธิบายรายละเอียด แผนการจัดประสบการณ์ และการประเมินผล
เทคนิค
- การลงมือทำ
- การใช้คำถาม
- การใช้กราฟฟิค
- การใช้เทคโนโลยี
- การเป็นแบบอย่าง
ทักษะ (Skill)
การให้ตอบคำถามแสดงความคิดเห็น การใช้คำถามต่างๆ
การนำไปใช้
สามารถนำความรู้ที่ได้ไปจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกต้องในอนาคต ทำให้เราเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มากขึ้นและมีเหตุผลในการตัดสินใจสิ่งต่างๆเพิ่มมากขึ้น
เทคนิคการสอน
สอนโดยบรรยายประกอบ Power point มีการแทรกคำถามประกอบการบรรยาย
ประเมินสภาพห้องเรียน
ห้องเรียนสะอาดบรรยากาศเหมาะสมกับการเรียนอุปกรณ์ใช้ใด้สะดวก
ประเมินตนเอง
มาเรียนตรงเวลาแต่งกายถูกระเบียบมีการเตรียมความพร้อมก่อนมาเรียน
ประเมินเพื่อน
ตั้งใจเรียนและฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน ไม่พูดคุยกันเสียงดัง
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มาสอนตรงเวลาแต่งการถูกระเบียบมีการเตรียมตัวและเนื้อหามาเป็นอย่างดี
คำศัพท์เพิ่มเติม (Vocabulary)
การจัดประสบการณ์ = Experience
บรรยาย = Narrate
เนื้อหา = Substance
วิเคราะห์= Analyse
11/08/2015
ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)
ทักษะทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ สติปัญญา การคิด วิเคราะห์ ความจำ
การทดลอง และการนำไปประยุกต์ใช้
อาจารย์อธิบายรายละเอียด แผนการจัดประสบการณ์ และการประเมินผล
เทคนิค
- การลงมือทำ
- การใช้คำถาม
- การใช้กราฟฟิค
- การใช้เทคโนโลยี
- การเป็นแบบอย่าง
ทักษะ (Skill)
การให้ตอบคำถามแสดงความคิดเห็น การใช้คำถามต่างๆ
การนำไปใช้
สามารถนำความรู้ที่ได้ไปจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกต้องในอนาคต ทำให้เราเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มากขึ้นและมีเหตุผลในการตัดสินใจสิ่งต่างๆเพิ่มมากขึ้น
เทคนิคการสอน
สอนโดยบรรยายประกอบ Power point มีการแทรกคำถามประกอบการบรรยาย
ประเมินสภาพห้องเรียน
ห้องเรียนสะอาดบรรยากาศเหมาะสมกับการเรียนอุปกรณ์ใช้ใด้สะดวก
ประเมินตนเอง
มาเรียนตรงเวลาแต่งกายถูกระเบียบมีการเตรียมความพร้อมก่อนมาเรียน
ประเมินเพื่อน
ตั้งใจเรียนและฟังขณะที่อาจารย์กำลังสอน ไม่พูดคุยกันเสียงดัง
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มาสอนตรงเวลาแต่งการถูกระเบียบมีการเตรียมตัวและเนื้อหามาเป็นอย่างดี
คำศัพท์เพิ่มเติม (Vocabulary)
การจัดประสบการณ์ = Experience
บรรยาย = Narrate
เนื้อหา = Substance
วิเคราะห์= Analyse
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)